วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2555

รูปแบบของสื่อหลายมิติที่ใช้        

ในการเรียนการสอน

             กิดานันท์ มะลิทอง http://wongketkit.blogspot.com/ ได้รวบรวมและกล่าวไว้ว่าลักษณะของสื่อหลายมิติว่า
     (1) ภาพนิ่ง               (2) ภาพเคลื่อนไหว        (3) ภาพถ่าย     
     (4) เสียงพูด             (5) เสียงดนตรี                         
ทั้งหมดนี้เป็นลักษณะของสื่อหลายมิติ ที่ผู้สอนจะนำไปใช้ในการเรียนการสอน ทำให้นักเรียนมีความใฝ่เรียนมากขึ้น และเป็นแรงจูงใจอีกอย่างหนึ่ง
            http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=5903.0;wap2 ได้รวบรวมและกล่าวไว้ว่า
รูปแบบของสื่อหลายมิติที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่
 

1. ภาพนิ่ง
2. ภาพเคลื่อนไหว
3. ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน์
4. เสียง
5. ส่วนต่อประสาน
6. การเชื่อมโยงหลายมิติ 

           วัฒนา นัทธี .2547 http://www.edtechno.com/ กล่าวไว้ว่า ลักษณะโคร่งสร้างของสื่อหลายมิติ โดยทั้วไปแบ่งออกเป็น 3 แบบ
(1) รูปแบบหลัก(domain model:dm) เป็น รูปแบบโครงสร้างหลักของข้อมูลสารสนเทศทั้งหมดที่นำเสนอให้ผู้เรียน โดยรูปแบบหลักเปรียบเสมือนคลังของข้อมูลไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาประวัติ เนื้อแฟ้มข้อมูลนักเรียน
(2) รูปแบบของผู้เรียน(student model:sm) เป็น การออกแบบระบบที่ให้ความสำคัญกับรูปแบบการเรียนรู้ และคุณลักษณะของผู้เรียนแต่ละคนที่เหมาะสมกับข้อมูลสารสนเทศและเนื้อหาที่นำ เสนอเพื่อการตอบสนองแบบรายบุคคล
(3) รูปแบบการปรับตัว เป็นรูปแบบของความสามารถในการปรับตัวของระบบ ที่สอดคล้องกับรูปแบบหลัก และรูปแบบของผุ้เรียน โดยรูปแบบการปรับตัว ( Apaptive Model:AM) เป็นการพัฒนาโปรแกรมหรือระบบที่สามารถนำมาปรับใช้สื่อหลายมิติแบบปรับตัวได้ โดยส่วนใหญ่นิยมพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีเว็ปเป็นฐาน (Web-Based Intruction)

สรุป
    รูปแบบของสื่อหลายมิติที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่         
         1. ภาพนิ่ง                        2. ภาพเคลื่อนไหว                 3. ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน์
         4. เสียง                            5. ส่วนต่อประสาน                  6. การเชื่อมโยงหลายมิติ

ทั้งหมดนี้เป็นลักษณะของสื่อหลายมิติ ที่ผู้สอนจะนำไปใช้ในการเรียนการสอน ทำให้นักเรียนมีความใฝ่เรียนมากขึ้น และเป็นแรงจูงใจอีกอย่างหนึ่ง
    ลักษณะโคร่งสร้างของสื่อหลายมิติ โดยทั้วไปแบ่งออกเป็น 3 แบบ

(1) รูปแบบหลัก(domain model:dm) เป็น รูปแบบโครงสร้างหลักของข้อมูลสารสนเทศทั้งหมดที่นำเสนอให้ผู้เรียน โดยรูปแบบหลักเปรียบเสมือนคลังของข้อมูลไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาประวัติ เนื้อแฟ้มข้อมูลนักเรียน
(2) รูปแบบของผู้เรียน(student model:sm) เป็น การออกแบบระบบที่ให้ความสำคัญกับรูปแบบการเรียนรู้ และคุณลักษณะของผู้เรียนแต่ละคนที่เหมาะสมกับข้อมูลสารสนเทศและเนื้อหาที่นำ เสนอเพื่อการตอบสนองแบบรายบุคคล
(3) รูปแบบการปรับตัว เป็นรูปแบบของความสามารถในการปรับตัวของระบบ ที่สอดคล้องกับรูปแบบหลัก และรูปแบบของผุ้เรียน โดยรูปแบบการปรับตัว ( Apaptive Model:AM) เป็นการพัฒนาโปรแกรมหรือระบบที่สามารถนำมาปรับใช้สื่อหลายมิติแบบปรับตัวได้ โดยส่วนใหญ่นิยมพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีเว็ปเป็นฐาน (Web-Based Intruction)
อ้างอิง   
รูปแบบของสื่อหลายมิติ[ออนไลน์].เว็บไซต์ กิดานันท์ มะลิทอง http://wongketkit.blogspot.com/ .เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2555.

    รูปแบบของสื่อหลายมิติ[ออนไลน์].เว็บไซต์ http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=5903.0;wap2  .เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2555.
    สื่อหลายมิติ[ออนไลน์].เว็บไซต์ วัฒนา นัทธี .2547 http://www.edtechno.com/ .เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2555.

 

 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น